ReadyPlanet.com
พื้นที่โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน (ADVERTISEMENT)
*YesSpaThailand.com เราสรรหาสิ่งที่ดีที่สุดเพื่อคุณ... ศูนย์รวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสปา อโรมาเทอราปี นวดแผนไทย โรงเรียนสปา โรงเรียนนวดแผนโบราณ สมุนไพร วิถีแห่งธรรมชาติบำบัด แพทย์ทางเลือก อายุรเวท ความงาม ผู้หญิง สุขภาพ โยคะ เครื่องดื่มสปาเพื่อสุขภาพ ศูนย์รวมผลิตภัณฑ์สปา แนะนำการลงทุนในธุรกิจสปา สปาแฟรนไชส์-เส้นทางลัดสู่การลงทุน ศูนย์รวมรายชื่อธุรกิจสปา Spa Dicectory ข่าวท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวรับสมัครงาน โปรโมชั่น ส่วนลดพิเศษ...YesSpaThailand.com *เทคนิควิธีการนวดแผนโบราณ วิธีการนวดฝ่าเท้า วิธีการนวดขา วิธีการนวดใบหน้า คอ แขนและมือ วิธีการนวดในท่านั่ง วิธีการนวดคอ วิธีการไหล่และหลัง วิธีการนวดไทยขั้นพื้นฐาน วิธีนวดหน้า วิธีการนวดไหล่ วิธีการนวดคอ วิธีการนวดขาและนวดเท้า วิธีการนวดเอวและนวดหลัง วิธีการนวดแขนและนวดมือ วิธีการนวดกดจุดฝ่าเท้าเบื้องต้น ขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณทุกท่าน เข้าชมเว็บไซต์ครบ *แนะนำโรงเรียน-สอนนวดฟรี-เรียนนวดฟรี:-เรียนนวดแผนไทยฟรี-สอนนวดกดจุดฝ่าเท้าฟรี  สูตรวิธีการทำเครื่องดื่มน้ำผักผลไม้-สูตรล้างสารพิษ สูตรลดความเครียด สูตรรักษาโรค เสริมภูมิคุ้มกัน สูตรวิธีการทำสมุนไพรสด สำหรับพอกหน้า-พอกตัว ยาแผนโบราณตำรายาสมุนไพรวัดโพธิ์ วิธีการนวดตามธาตุเจ้าเรือน ดิน น้ำ ลม ไฟ Four Element Massage สมุนไพรแห่งความงาม9,546,019 Visitors *โยคะ (Yoga) คืออะไร ประวัติโยคะ วิธีการฝึกโยคะ สูตรการฝึกโยคะ ประโยชน์ของการฝึกโยคะ คำแนะนำในการฝึกโยคะ ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ การเตรียมตัวฝึกโยคะ (Yoga) อุปกรณ์ของการฝึกโยคะ โยคะอาสนะ (Asana) คืออะไร?  โยคะร้อน (Bikram Yoga) คืออะไร? โยคะต้านแรงโน้มถ่วง (Antigravity Yoga) คืออะไร?  เทคนิควิธีฝึกการหายใจแบบโยคะ (ปรานายามา) ลมปราณแห่งชีวิต วิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจทางจมูกสลับข้าง19,032,108 PageViews *สปาคืออะไร ประเภทของสปา รูปแบบและบริการของสปา องค์ประกอบของสปาเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับสปา สปาไทย-สปาตะวันตก	 สปาหู สปามือ สปาเท้า สปาผม สปาปลาบำบัด อโรมาเทอราปี (สุคนธบำบัด) ประเภทของการนวดกับอโรมาเทอราปี  วิธีการผลิต การสกัด สรรพคุณ น้ำมันหอมระเหย เอสเซ็นเชียล ออยล์ สูตรผสมและคุณประโยชน์สถิติเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2567*วิธีการนวดแผนโบราณ ประโยชน์ของการนวดแผนโบราณ ขั้นตอนการนวดฝ่าเท้าและการกดจุดฝ่าเท้า ข้อควรระวัง ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติหลังการนวดแผนโบราณ ข้อแตกต่างของการนวดแบบทั่วไปกับการนวดแบบราชสำนัก ความลับของการนวดฝ่าเท้า ประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร วิธีประโยชน์ของการอยู่ไฟ คุณแม่หลังคลอดบุตร
dot dot
dot
โฆษณาผู้สนับสนุน (Advertisement)
dot
จันทร์ธาราสปา Chantrara Spa ผู้นำด้านความงามทรวงอก และสุขภาพผิวพรรณ Tel: 0-2314-5759
bulletจันทร์ธาราสปา Chantrara Spa ผู้นำด้านความงามทรวงอก และสุขภาพผิวพรรณ Tel. 023145759
dot
ค้นหาบทความที่คุณต้องการ

dot
dot
สปา-ศาสตร์แห่งความงามเพื่อสุขภาพ
dot
bulletความหมายของ-สปา-SPA
bulletประเภทของสปา-SPA
bulletองค์ประกอบของสปาเพื่อสุขภาพ
bulletรูปแบและบริการของสปา
bulletสปาไทย-สปาตะวันตก
bulletผลิตภัฑ์สมุนไพรสำหรับสปา
bulletสปาหู Ear Candeling
bulletสปามือ-สปาเท้า
bulletสปาผม
bulletสปาปลาบำบัด Spa Fish
bulletออกซิเจน โซลาร์ สปา
dot
พลังแห่งกลิ่นหอม-อโรมาเทอราปี
dot
bulletอโรมาเทอราปี - คืออะไร
bulletร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ จากกลิ่นบำบัด ในอโรมาเทอราปี
bulletประเภทของการนวดยอดนิยม
bulletอโรมาเทอราปี-กับการนวดเด็ก
bulletสูตรน้ำมันหอมระเหยในการรักษาโรคและการบำบัดเพื่อสุขภาพ
dot
อโรมาเทอราปี - เพื่อความงาม
dot
bulletการดูแลสภาพเส้นผมและผิวพรรณ
bulletสูตรถนอมและบำรุงเส้นผม
bulletสูตรเพื่อการถนอมผิวพรรณ
bulletสูตรเพื่อการถนอมผิวหน้า
bulletสูตรผสมเพื่อการอาบน้ำ
dot
dot
dot
น้ำมันหอมระเหย - อโรมาเทอราปี
dot
bulletน้ำมันหอมระเหย-คืออะไร
bulletวิธีการใช้และสรรพคุณ
bulletข้อควรระวังในการใช้
bulletประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย
bulletวิธีการผลิต-น้ำมันหอมระเหย
bulletน้ำมันหอมระเหยของไทย
bulletเอสเซ็นเชียล ออยล์ สูตรผสมและคุณประโยชน์
bulletน้ำมันกระสายยา-คืออะไร
bulletสูตรผสมน้ำมันหอมระเหยเพื่อความงามและสุขภาพ
bulletราศีกับการเลือกใช้น้ำมันหอมระเหย
bullet114 ชนิดของน้ำมันหอมระเหย สรรพคุณ คุณสมบัติและวิธีนำไปใช้
bulletเหตุใดน้ำมันหอมระเหยจึงมีราคาแตกต่างกัน
bulletน้ำมันหอมระเหยรักษาโรคได้จริงหรือ
bulletวิธีเลือกซื้อน้ำมันหอมระเหยให้ได้ของแท้ 100%
bulletข้อแตกต่างระหว่างน้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากธรรมชาติ และน้ำมันหอมระเหยสังเคราะห์ (ของเทียม)
bulletข้อแตกต่างระหว่าง น้ำมันหอมระเหยออแกนิกส์ กับน้ำมันหอมระเหยบริสุทธิ์ 100%
dot
dot
dot
สปาไทย-มนต์เสน่ห์ของไทยพื้นบ้าน
dot
bulletสปาไทย วิถีวัฒนธรรมแบบไทย
bulletย้อนรอยศาสตร์การนวดแผนไทย
bulletเสน่ห์ไทยกับการนวดแผนโบราณ
bulletวิธีการนวดแผนโบราณ
bulletรูปแบบการนวดแผนโบราณ
bulletข้อแตกต่างการนวดแบบทั่วไปกับการนวดแบบราชสำนัก
bulletประโยชน์ของการนวดแผนโบราณ
bulletข้อห้ามการนวดแผนโบราณ
bulletไทยสัปปายะ นวดไทยกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
bulletรูปแบบการนวดยอดนิยมในเอเชีย
bulletความลับของการนวดฝ่าเท้า
bulletประโยชน์ของการนวดฝ่าเท้า
bulletขั้นตอนการนวดฝ่าเท้า
bulletกฎ-ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เกี่ยวกับการนวดแผนไทย
dot
dot
dot
วิธีการนวดแผนโบราณ ขั้นพื้นฐาน
dot
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดหน้า
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดคอ
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดไหล่
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดแขน-มือ
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดเอว-หลัง
bulletวิธีนวดแผนโบราณ นวดขา-เท้า
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เบื้องต้น 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เบื้องต้น 2
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า เพื่อสุขภาพ 2
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า รักษาโรค 1
bulletวิธีการนวดฝ่าเท้า รักษาโรค 2
dot
เทคนิควิธีการนวดแผนโบราณ
dot
bulletเทคนิควิธีการนวดเท้า
bulletเทคนิควิธีการนวดขา ตอน 1
bulletเทคนิควิธีการนวดขา ตอน 2
bulletเทคนิควิธีการนวดหน้า คอ แขน มือ
bulletเทคนิควิธีการนวดในท่านั่ง คอ ไหล่และหลัง
dot
dot
dot
องค์ความรู้ - วัดโพธิ์ (วัดพระเชตุพนฯ)
dot
bulletชีวประวัติ "ปู่ฤาษีชีวก โกมารภัจจ์" แพทย์ประจำพระองค์ของพระพุทธเจ้า บรมครูของวงการแพทย์แผนไทย
bulletประวัติความเป็นมาของวัดโพธ์
bullet"เส้นประธานสิบ" หลักสำคัญของวิชาการนวดไทย
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับสตรีมีครรภ์และหลังคลอดบุตร
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับตู้ยาประจำบ้าน
bulletตำรายาสมุนไพร-สำหรับรักษาโรค
dot
dot
bulletประวัติความเป็นมาของ ฤาษีดัดตน
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 1-5
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 6-10
bulletวีดีทัศน์ ฤาษีดัดตน ท่าที่ 11-15
dot
dot
dot
ธาตุเจ้าเรือน ธาตุทั้ง 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ
dot
bulletมารู้จักธาตุเจ้าเรือน ในตัวเรา
bulletการนวดฟื้นฟูธาตุเจ้าเรือน
bulletวิธีการนวดฟื้นฟูตามธาตุเจ้าเรือน
bulletธาตุเจ้าเรือนกับการใช้น้ำมันหอมระเหย
bulletวิธีเลือกคู่รักตามธาตุเจ้าเรือน
bulletอายุรเวท (Ayurrveda) คืออะไร
bulletตรีโทษ (วาตะ ปิตตะ กผะ) คืออะไร
bulletชาววาตะ (Vata) ผู้มีธาตุลมและธาตุอากาศ เป็นธาตุประจำตัว
bulletชาวปิตตะ (Pitta) ผู้มีธาตุไฟ เป็นธาตุประจำตัว
bulletชาวกผะ (Kapha) ผู้มีธาตุดินและธาตุน้ำ เป็นธาตุประจำตัว
dot
dot
dot
ลูกประคบ-สมุนไพรไทย
dot
bulletความลับของลูกประคบสมุนไพร
bulletอุปกรณ์ วิธีการทำ สมุนไพรที่สำคัญ การเก็บรักษา ลูกประคบ
bulletสมุนไพรที่ใช้เป็นส่วนผสมสำคัญของลูกประคบสมุนไพร
bulletสูตรลับ-ลูกประคบ จากชาววัง
bulletสูตรลูกประคบรักษาเฉพาะโรค 1
bulletสูตรลูกประคบรักษาเฉพาะโรค 2
bulletสูตรลูกประคบสมุนไพรไทยแบบสดและแบบแห้ง
dot
อบไอน้ำ-สมุนไพรไทย
dot
bulletการอบไอน้ำสมุนไพร เพื่อความงาม
bulletสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของการ อบไอน้ำสมุนไพร
bulletวิธีการอบ ข้อห้าม การอบสมุนไพร
bulletสูตรลับ-ยาอบสมุนไพรจากชาววัง
dot
dot
dot
อยู่ไฟ-คุณแม่หลังคลอดบุตร
dot
bulletความหมายของการ-อยู่ไฟ
bullet29 ขั้นตอนของการ-อยู่ไฟ
dot
dot
dot
สมุนไพรแห่งความงามและสุขภาพ
dot
bulletตำลึง-ครีมสมุนไพรบำรุงผิวพรรณ
bulletบัวบก-ครีมสมุนไพรบำรุงความงาม
bulletเทียนบ้าน-ครีมสมุนไพรฟื้นฟูผิว
bulletฝรั่ง-ครีมสมุนไพรแห่งความงาม
bulletสูตรลับ-น้ำมันสมุนไพร-ยาสมุนไพร
bulletสูตรลับ-แป้งฝุ่นสมุนไพร
bulletสูตรลับ-แป้งสมุนไพรระงับกลิ่นกาย
bulletสูตรลับ-ยาสมุนไพร-แห่งความงาม
bulletสูตรสมุนไพรสดพอกหน้า-พอกตัว
bulletสูตรสวยลึกล้ำจากธรรมชาติ
dot
dot
dot
มหัศจรรย์สมุนไพรกลิ่นหอมธรรมชาติ
dot
bulletพลังกลิ่นหอม สร้างพลังชีวิต
bulletพืชหอมของไทย ที่นำมาใช้ในสปา
bulletกำยาน ความหอมอมตะ
dot
dot
dot
โยคะ (Yoga) ลมปราณแห่งชีวิต
dot
bulletโยคะ (Yoga) คืออะไร? ประวัติโยคะ
bulletความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับโยคะ
bulletประโยชน์ของการฝึกโยคะ (Yoga)
bulletคำแนะนำในการฝึกโยคะ และ 10 ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ
bulletศิลปะ ปรัชญาและ 4 เทคนิคการฝึกโยคะ (Yoga) อย่างง่ายๆ
bulletอุปกรณ์และการเตรียมตัวฝึกโยคะ เมื่อไรควรฝึกโยคะ? (Yoga)
bulletโยคะอาสนะ (Asana) คืออะไร? ประเภท เป้าหมาย และการแบ่งระดับชั้นของโยคะอาสนะ
bulletวิธีการฝึกโยคะ: ท่าสุริยะนมัสการ
bulletโยคะร้อน (Bikram Yoga) คือ...
bulletประโยชน์ของการฝึกโยคะร้อน
bulletข้อควรระวังในการฝึกโยคะร้อน
bulletโยคะต้านแรงโน้มถ่วง คืออะไร?
bulletวิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจทางจมูกสลับข้าง
bulletวิธีการฝึกหายใจแบบโยคะ: การหายใจแบบผึ้ง
bulletแนะนำโรงเรียนสอนโยคะ (Yoga)
dot
dot
dot
ผลิตภัณฑ์สปา-มรดกอัศจรรย์ของไทย
dot
bulletสูตรและวิธีการทำ-ผลิตภัณฑ์สปา
dot
dot
dot
สูตรเครื่องดื่มสปา เพื่อสุขภาพ
dot
dot
dot
dot
แนะนำสปาใกล้บ้านคุณ
dot
bulletHotel & Resort SPA
bulletDay SPA
bulletMedical SPA
bulletDestination SPA
bulletHealth Massage SPA
bulletSPA Schools
dot
dot
dot
แนะนำการลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส์
dot
bulletแนะนำ แฟรนไชส์ สปา ความงาม สุขภาพ โยคะ เส้นทางลัดสู่การลงทุน
bulletแฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร
bulletความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์
bulletมาตรฐาน คุณภาพของแฟรนไชส์
bulletมุมมองการตลาดธุรกิจแฟรนไชส์
bulletบทความ-ความรู้พื้นฐานแฟรนไชส์
bulletบทความ-คัมภัร์บริหารเชิงกลยุทธ์
dot
dot
dot
VDO องค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
dot
bulletวีดีโอ ความรู้เกี่ยวกับสปา นวดไทย
dot
dot
dot
สาระน่ารู้ เพื่อคุณภาพของชีวิต
dot
bulletบทความ - สปา สุขภาพ ความงาม
bulletแนะนำหนังสือ
bulletข่าวประกาศรับสมัครงานสปา
bulletข่าวโปรโมชั่น-ส่วนลดพิเศษ
bulletNEWS & EVENTS
bulletฝากข่าวประชาสัมพันธ์
bulletฝากข่าวรับสมัครงาน


พื้นที่โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน
โรงละครไทย อลังการ พัทยา
Nantra de Boutique Hotel Pattaya: Pattaya
Lanna Come Spa
Chantrara Spa
Parutee
Chivasom Academy
Tai-Pan Hotel
Spa @ Bangkok
Panviman Spa Academy


คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ article

18 คุณสมบัติ
ของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็น
ธุรกิจแฟรนไชส์


 
การตรวจสอบคุณสมบัติของธุรกิจอย่างละเอียดเพื่อประเมินความเป็นไปได้ก่อนที่คุณจะเข้าสู่ขั้นตอนในการสร้างระบบแฟรนไชส์ (Franchise) ขอให้คุณตรวจสอบคุณสมบัติของการเป็นแฟรนไชส์ (Franchise) โดยละเอียดอีกครั้ง และทดสอบให้แน่ใจอย่างที่สุดว่า ธุรกิจของคุณมีความเป็นไปได้และถ้าหากคุณขาดคุณสมบัติข้อใดไป ก็ขอให้คุณปรับปรุงแก้ไขเพื่อวางรากฐานที่แข็งแกร่งของธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) ของคุณ

.........................................................................................................
โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน

.........................................................................................................

สำหรับแฟรนไชส์ (Franchise) ที่สดใสของคุณในอนาคต คุณจงอย่าดื้อรั้น คิดว่าขาดข้อใดข้อหนึ่งไม่เป็นไร เพราะไม่มีใครเพอร์เฟคที่จะทำได้ทุกข้อหรือคิดว่ากว่าจะทำให้มีคุณสมบัติครบถ้วนคงต่องใช้เวลานานเกินไป ไม่ทันเกมส์การแข่งขันและโอกาสดีๆ จะหลุดลอย ขอให้คุณลองไตร่ตรองถึงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากการเสียเวลาที่ต้องกลับมาแก้ไขภายหลัง รวมทั้งการสูญเสียภาพพจน์และชื่อเสียงจากแฟรนไชส์ที่ผิดหวังบอกต่อๆ กันไป จนกระทั่งบานปลายจนเป็นข่าวหน้าหนังสือพิมพ์

คุณต้องยอมรับความจริงว่าแฟรนไชส์ (Franchise) ในไทยขาดความยั่งยืนเพราะปราศจากรากฐานที่แข็งแกร่ง แต่ถ้าในกรณีที่คุณใจร้อนรอไม่ได้จริงๆ ก็ขอให้คุณตั้งมั่นแก้ไขในจุดที่คุณยังอ่อนอยู่และมีระยะเวลาที่ชัดเจนว่าจะเสร็จเมื่อไหร่ เช็คลิสท์ 18 ข้อนี้ จะช่วยให้คุณได้ทบทวนตัวเองอย่างรอบคอบและเป็นหนทางที่จะนำคุณไปสู่ความสำเร็จ

1. คุณเป็นผู้ชำนาญเชี่ยวชาญในธุรกิจนั้นยาวนานกว่า 5 ปี
มีความรอบรู้ในปัญหาจากการดำเนินธุรกิจมากพอ ที่จะให้การปรึกษาแก่แฟรนไชซี่ได้เป็นอย่างดีความช่ำชองในธุรกิจเป็นสิ่งที่จำเป็นที่สุดที่ต้องมีแฟรนไชส์ หลายรายที่มีอายุธุรกิจเพียง 1-2 ปี ก็เปิดขายแฟรนไชส์แล้ว คุณคิดว่าพวกเขาเหล่านั้นเป็นไปได้ที่จะประสบความสำเร็จหรือไม่ ?

พวกเขาผ่านปัญหาในการดำเนินธุรกิจมาหลายรูปแบบ ? แล้วหรือยัง พวกเขาจะบอกวิธีแก้ปัญหาที่ถูกต้องและได้ผลกับแฟรนไชซี่ได้หรือไม่ ?

มีแฟรนไชส์ (Franchise) ที่มาจากต่างประเทศหลายรายที่ซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) มาและมั่นใจมากว่า ระบบธุรกิจของผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศหลายรายที่ซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) มาและมั่นใจมากว่า ระบบธุรกิจของผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ทำมาแล้วนานนับสิบๆ ปี จะทำให้ประสบความสำเร็จในไทย เขาจึงทำตัวเองเป็นเพียงเซ็นเตอร์ในการติดต่อโดยไม่มีร้านของตัวเองที่เปิดขึ้นในไทยเลยหรือมีก็เพียง 1 แห่ง แน่นอนเขาขาดประสบการณ์รายละเอียดในการดำเนินงานและความรู้เรื่องตลาดและพฤติกรรมในประเทศไทย แต่ในทางตรงกันข้ามบริษัทยักษ์ใหญ่ แม้แต่ 7-อีเลฟเว่นหรือแฟมิลี่มาร์ทเอง กว่าที่เขาจะขายแฟรนไชส์ (Franchise) เขาเปิดร้านสาขาของเขาเองนำร่องไปก่อนหลายสิบแห่งทีเดียว ยิ่งคุณมีอายุในวงการธุรกิจมากเท่าไหร่ ความเป็นไปได้ที่จะก้าวสู่ความสำเร็จของคุณก็สูงขึ้นมากเท่านั้น

18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ

2. ธุรกิจของคุณเปิดดำเนินการมาแล้วมากกว่า 4-5 แห่ง
ซึ่งถ้าคุณมีร้านที่เปิดขึ้นมาแล้ว คุณจะมีตัวเลขประมาณรายได้ ค่าใช้จ่ายและผลกำไร ที่คุณจะแสดงต่อแฟรนไชซี่ของคุณให้มั่นใจในแผนการดำเนินการบริหารร้านที่มีโอกาสประสบความสำเร็จ แต่ถ้าคุณมีร้านที่เปิดขึ้นน้อยเกินไป ข้อมูลความรู้ในการดำเนินธุรกิจของคุณก็มีน้อยเกินไปด้วย คุณคิดว่าจะดีกว่าหรือไม่ ที่ร้านของคุณมีเปิดขึ้นมาแล้วสัก 4-5 แห่ง เพื่อทำให้คุณมีความแม่นยำในระบบการจัดการธุรกิจ โดยมีข้อมูลที่ชี้เป็นตัวเลข ที่ผ่านมาเป็นเครื่องพิสูจน์ที่ไม่มีใครจะสามารถมาโต้แย้งตัวเลขที่เกิดจากข้อเท็จจริงนี้ได้ แม้แต่ตัวคุณเอง ก็จะเป็นทางการเงินและการจัดการได้อย่างอัตโนมัติ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ก่อนจะประกาศขายแฟรนไชส์ (Franchise) ออกไปนั้น หมายถึงว่าคุณมีร้านต้นแบบที่เปิดดำเนินการอยู่แล้ว

3. ร้านของคุณที่เปิดขึ้นนั้นอยู่ในพื้นที่ที่แตกต่างกัน
แม้คุณอาจจะมีร้าน 4-5 แห่ง ที่เปิดขึ้นมาแล้วแต่ถ้ามันอยู่เฉพาะในเขตนั้นที่ใกล้เคียงกัน มันก็จะยังไม่เพียงพอที่จะพิสูจน์ความเป็นไปได้ของรูปแบบธุรกิจคุณ

สมมติว่าคุณมีร้านอาหารสไตล์ยุโรป คุณคิดว่าในเขตพื้นที่อื่น จะมีพฤติกรรมยอมรับรสชาติของอาหารและราคาในรูปแบบเดียวกันหรือไม่?

แต่ถ้าร้านคุณเปิดในพื้นที่แตกต่างกันแล้วละก็ คุณก็จะรู้ได้ทันทีว่ามีปัญหาที่แตกต่างกันมากมาย ซึ่งจะช่วยให้คุณมีทักษะในการหามาตรการบริหาร้านที่อยู่ในกลุ่มของชุมชนที่ไม่เหมือนกันและสิ่งสำคัญที่สุดคือ เรื่องการยอมรับของตลาด ขนาดของตลาด การมีร้านในเขตที่แตกต่างจะทำให้คุณมีรายงานทางการตลาดที่ดีกว่า ที่ทำให้มั่นใจได้ว่าสินค้าและบริการของคุณเป็นที่ยอมรับในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันหรือไม่

4. ร้านที่คุณเปิดขึ้นนั้นพิสูจน์แล้วว่าทำกำไรได้?
ตัวเลขบรรทัดสุดท้ายก็คือ ตัวเลขที่แสดงผลกำไรที่เป็นจุดที่ต้องโฟกัสเป็นอันดับแรก ถ้าผลของการคำนวณร้านของคุณไม่สามารถทำกำไรได้ มันเป็นไปไม่ได้เลยที่คุณจะนำระบบที่ไม่ประสบความสำเร็จนี้ไปขายให้คนอื่นนั้นถ้าธุรกิจของคุณยังไม่ทำกำไร คุณอย่าฝ่าฝืนหลักการสำคัญในข้อนี้เป็นอันขาด เพราะธุรกิจของคุณไม่มีความเป็นไปได้ที่จะระบบแฟรนไชส์ (Franchise)

5. สินค้าและบริการของคุณมีตราหรือชื่อ เป็นที่รู้จักในตลาดแล้ว
ถ้าใช่ มีความเป็นไปได้ที่คุณจะประสบความสำเร็จในการทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise) แต่ถ้าคุณยอมรับว่าสินค้าและบริการของคุณยังไม่เป็นที่รู้จักในตลาดหรือยังไม่เป็นที่รู้จักในวงการ คุณก็จะต้องแก้ไขหากลยุทธ์ แก้ความบกพร่องในเรื่องนี้ เพื่อเสริมสร้างความเป็นไปได้ในการสร้างระบบแฟรนไชส์ (Franchise) ที่ได้ผล มันไม่ยุติธรรมเลยถ้าคุณไม่เคยลงทุนโปรโมทแบรนด์ของคุณมาก่อนหรือทำน้อยไป แต่คุณต้องเรียกเก็บค่าแฟรนไชส์ฟี จากผู้ที่ซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) ของคุณ

ถึงแม้ว่าคุณสามารถขายแฟรนไชส์ได้เงินมา แต่แบรนด์ไม่เป็นที่รู้จักก็ไม่สามารถจูงใจคนเข้ามาซื้อสินค้าได้ทันที ในทางตรงกันข้าม ถ้าแบรนด์ของคุณเป็นที่ยอมรับในตลาดแล้วและถ้าร้านของคุณเปิดขึ้นมาเมื่อไหร่ในที่ใดก็ตาม คนจะรู้จักและเชื่อในคุณภาพสินค้าและบริการของคุณทันที คุณมีสิทธิแล้วที่จะได้รับเงินค่าประชาสัมพันธ์มาเป็นระยะเวลาหลายปีด้วยเงินมหาศาล คุณอย่าลังเลในที่จะเรียกเก็บเงินจากผลประโยชน์ข้อนี้ ซึ่งแฟรนไชซี่ส่วนใหญ่ยินดีจะจ่ายเพื่อใช้มันและนี่เป็นความเป็นไปได้เบื้องต้นที่คุณจะได้รับจากการมีชื่อเสียงที่ติดตลาดของคุณ

6. คุณมีเป้าหมายที่จะเป็นผู้นำตลาด
สินค้าและบริการของคุณมีแนวโน้มที่จะเป็นผู้นำตลาดหรือครองตลาดในวงการอันดับต้นๆ เมื่อคุณตัดสินใจที่จะขยายธุรกิจด้วยระบบแฟรนไชส์ (Franchise) แล้ว คุณย่อมรู้ว่ามันมีโอกาสที่จะขยายตัวได้อย่างรวดเร็วอย่างแฟรนไชส์เบเกอรี่แห่งหนึ่ง ถูกเย้ายวนให้เปิดขายแฟรนไชส์ โดยมีผู้อื่นมาขอซื้อแฟรนไชส์กันมาจนอดใจไม่ไหว เขาตัดสินใจขายแฟรนไชส์โดยที่ตัวเองนั้นไม่เคยมีความคิดมาก่อนว่าจะทำธุรกิจให้ใหญ่โต จนกระทั่งเขาขายแฟรนไชส์ได้ถึง 8 รายในเวลาอันสั้นอย่างคาดไม่ถึง แต่เมื่อดำเนินธุรกิจไปได้ไม่นานก็ต้องหยุดชะงักและทะยอยซื้อกลับคืน เพราะร้านที่เปิดขึ้นรายได้ไม่ค่อยดีนัก เขากล่าวว่า “ผมเองนอกจากจะไม่ความรู้เรื่องการตลาดแล้วยังไม่ให้ความสนใจกับมันอีกและนี่คือข้อผิดพลาดของผม เพราะมันผิดเป้าที่ตั้งไว้ตั้งแต่แรก ที่ผมตั้งใจแค่ทำร้านเบเกอรี่นี้เป็นเพียงแค่งานอดิเรก”

คุณทราบไหมว่าหลักการในการแนะนำแฟรนไชซี่ในการเลือกซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) ที่ดีนั้นก็คือ จงเลือกซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) ที่บริษัทแม่มีเป้าหมายในการเป็นผู้นำตลาด ซึ่งจะทำให้จุดมุ่งหมายของบริษัทแม่มุ่งไปสู่การทำยอดขายที่กินแชร์สูงสุดในตลาด มากกว่าการมุ่งขายสินค้าให้กับแฟรนไชซี่ ที่จะมีผลทำให้ร้านของแฟรนไชซี่ได้รับผลประโยชน์จากการตั้งเป้าข้อนี้คุณลองทบทวนดูว่า คุณตั้งใจจะเป็นผู้นำหรือไม่และคุณกำลังจะก้าวขึ้นสู่ในการเป็นผู้นำตลาดหรือไม่ ถ้าใช่ละก็ คุณคือผู้ที่กำลังเข้าใกล้ความสำเร็จแค่เอื้อม ยิ่งถ้าคุณคือผู้ครองตลาดในวงการอยู่แล้วนั่นคือ คุณสมบัติของผู้ที่จะทำแฟรนไชส์ (Franchise) ที่จะประสบความสำเร็จ

18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ

7. สินค้าและบริการของคุณมีตลาดกว้าง
เคยมีผู้ถามว่าธุรกิจเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อทำแฟรนไชส์ (Franchise) ได้หรือไม่ นี่คือตัวอย่างของธุรกิจที่เป็นไปไม่ได้ในการทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise) เนื่องจากมีความต้องการของตลาดอย่างจำกัด ไม่เหมาะในการยายตัวด้วยวิธีแฟรนไชส์ (Franchise) สินค้าและบริการที่คุณจะนำมาสร้างระบบแฟรนไชส์ (Franchise) จะต้องมีตลาดใหญ่พอสมควร จึงจะเป็นไปได้ที่จะทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise) แต่ถ้าคุณคิดดูแล้วว่า ธุรกิจของคุณมีกลุ่มผู้ซื้อผู้ใช้ค่อนข้างจำกัด คุณหาวิธีอื่นเพื่อขยายธุรกิจจะเหมาะสมกว่า

8. สินค้าและบริการของคุณมีจุดเด่น
ที่แตกต่างเหนือคู่แข่งขันหรือไม่?

ร้านข้าวแกง ร้านก๋วยเตี๋ยวเป็นแฟรนไชส์ (Franchise) ได้หรือไม่ ? ถ้ามีจุดเด่นที่แตกต่างจากผู้อื่น แต่ถ้าคุณยังธรรมดาไม่มีคอนเซ็ปท์เด่นชัดก็เป็นไปได้ที่ใครจะมาซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) ของคุณ ความแตกต่างอาจเป็นที่ตัวอาหาร รูปแบบการให้บริการ การบรรจุหีบห่อ สไตล์การตกแต่งร้าน หรืออะไรที่ผู้คนกล่าวขวัญถึง เช่น สมมติร้านคุณเป็นร้านข้าวมันไก่ที่ขายดีกว่า 10 ร้านที่อยู่ติดๆ กัน นั่นแสดงว่าคุณต้องมีดีที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน คุณจงค้นหามัน อะไรคือจุดที่คุณเก่งกว่า เหนือกว่าคู่แข่งขัน ที่ไม่มีใครมาทียบได้แล้วหลังทำการโปรโมทอย่างจริงจัง

9. สินค้าและบริการของคุณมีวงจรชีวิตสั้นเกินไปหรือไม่?
ตู้ถ่ายสติ๊กเกอร์ เครื่องเล่นทามาก็อตจิเป็นธุรกิจที่เป็นแฟชั่น ที่มีวงจรยอดฮิตเพียงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ถ้าธุรกิจของคุณมีคุณลักษณะเช่นนี้ คุณจะไม่ประสบความสำเร็จในการทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise) เพราะธุรกิจในระบบแฟรนไชส์ (Franchise) เป็นธุรกิจที่ทำกันมาระยะยาวนาน สืบทอดถ่ายโอนไปสู่ลูกหลาน ดังนั้นกิจการเพียงช่วงสั้นจะไม่เหมาะสมที่จะนำมาทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise)

10. ธุรกิจของคุณสามารถถ่ายทอดสอนผู้อื่นได้หรือไม่?
ถ้าธุรกิจของคุณเรียนรู้ได้ยากเกินไป มีขบวนการที่ซับซ้อนเกินไปมีคนเก่งเช่นคุณเท่านั้นจึงจะทำได้ ถ้าลักษณะสินค้าและบริการของคุณเป็นเช่นนี้ ก็ไม่ควรที่จะนำมาทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise) เพราะคุณต้องใช้เวลานานในการสอนกันและยังต้องการความสามารถเฉพาะบุคคลอีก อย่างนี้ก็ยากในการสร้างระบบแฟรนไชส์ (Franchise) เพราะธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) นั้นจะต้องถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้ โดยใช้เวลาการอบรมไม่นานนักและมันยากถ้าคุณต้องประกาศหาบุคคลที่มีความสามารถเฉพาะที่มีอย่างจำกัด ความเป็นไปได้ในธุรกิจคุณก็น้อยลงไปด้วย

11. ธุรกิจของคุณต้องใช้พรสวรรค์ใช่หรือไม่?
งานศิลปะที่ต้องอาศัยพรสวรรค์เฉพาะบุคคลเป็นลักษณะธุรกิจที่ไม่เหมาะที่จะทำแฟรนไชส์ (Franchise) เช่น การวาดรูป ถ้าคุณพิจารณาดูแล้วว่าธุรกิจของคุณจำเป็นต้องอาศัยพรสวรรค์พิเศษเฉพาะบุคคล คุณก็ตัดสินใจได้ว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะทำแฟรนไชส์ (Franchise) หรือในบางกรณีกลุ่มของธุรกิจประเภทนี้อาจจะต้องใช้คนกลุ่มอาชีพเดียวกัน อย่างแฟรนไชส์ (Franchise) การออกแบบและตกแต่ง ก็จะกำหนดคุณสมบัติของคนที่จบสถาปนิกหรืออาชีพแพทย์เฉพาะทาง ก็จะกำหนดคุณสมบัติของคนที่จบสถาปนิกหรืออาชีพคลินิกแพทย์เฉพาะทางก็จะกำหนดคุณสมบัติของอาชีพแพทย์ วิธีนี้ก็จะเป็นทางออกที่เป็นไปได้

แต่ปัญหามีอยู่ว่า คุณจะควบคุมมาตรฐานของงานศิลป์ให้เป็นรูปแบบเดียวกันได้อย่างไร?

12. ธุรกิจของคุณนั้นลอกเลียนแบบได้ยาก
มีแฟรนไชส์ (Franchise) ขายอาหารเช้าที่เปิดตัวขึ้นมาอย่างฮือฮา แต่ก็ต้องทยอยปิดตัวกันไป เพราะตัวสินค้าขาดคุณสมบัติข้อนี้ คือเป็นธุรกิจที่ลอกเลียนแบบได้ง่ายเกินไป การขายอาหารเช้ามีลักษณะที่สามารถลอกเลียนแบบได้ง่ายทำให้ผู้ลงทุนไม่เห็นความจำเป็นที่ต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) สามารถฝึกและทดลองด้วยตัวเอง หรือใช้ผู้รู้แนะนำหรือเรียนระยะสั้นๆ มาก็ทำได้แล้ว

13. สินค้าและบริการของคุณมีการซื้อซ้ำหรือไม่?
มีธุรกิจหนึ่งเป็นอาหารเสริมนำมาทำระบบแฟรนไชส์ (Franchise) ซึ่งช่วงแรกที่แฟรนไชซี่ซื้อไปทำได้ดีมาก เพราะเป็นธุรกิจที่ลงทุนต่ำ ขายเพียง 4-5 ชุดก็คืนทุนได้แล้วในเวลาเพียง 2-3 อาทิตย์เท่านั้น ที่ขายหลังจากนั้นก็คือกำไร ดูเสมือนว่าธุรกิจนี้น่าสนในมีจุดดึงดูด ที่ไม่ต้องลงทุนมากไม่มีความเสี่ยงเลย แต่ปรากฎว่าเมื่อทำไปเรื่อยๆ นานๆ จึงจะมีรายได้เข้ามาที เพราะสินค้าที่นำมาขายเป็นของที่ลูกค้ารู้สึกว่าไม่ใช่ของจำเป็น ไม่ค่อยมีการมาซื้อซ้ำอีก สุดท้ายแฟรนไชซี่ก็ขาดรายได้หรือมีรายได้ไม่สม่ำเสมอ ไม่เพียงพอต่อชีวิตประจำวันจนต้องหันไปทำอาชีพอื่น

14. ธุรกิจของคุณมีการแข่งขันสูงเกินไปหรือไม่?
มีธุรกิจรายใหญ่ของไทย 2-3 ราย ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์พร้อม มีทั้งชื่อ มีสาขาที่เปิดมาแล้ว มีประสบการณ์ช่ำชองในธุรกิจเป็นผู้นำตลาด แต่ท้ายที่สุดต้องเปลี่ยนกลับไปใช้ระบบดีลเลอร์อย่างเก่า เพราะมาตายด้วยการเป็นธุรกิจที่อยู่ท่ามกลางการแข่งขันที่ดุเดือด เพราะสินค้าเหล่านั้นในท้องตลาดก็มีขายเช่นเดียวกัน เกิดการลดราคาสะบั้นหั่นแหลก ในที่สุดร้านแฟรนไชส์ (Franchise) ก็ไม่มีจุดที่ได้เปรียบ แต่กลับไปเสียเปรียบเพราะระเบียบข้อกำหนดต่างๆ ในระบบแฟรนไชส์ (Franchise) คุณจะเห็นว่าแม้คุณสมบัติที่ครบถ้วนเกือบจะเพอร์เฟค 100% แต่ปัญหาการแข่งขันสูงก็ทำให้ระบบแฟรนไชส์ (Franchise) ไปไม่รอดอย่างไม่น่าเชื่อ

15. ธุรกิจคุณไม่ลงทุนสูงเกินไป (ไม่เกิน 3 ล้าน)
การลงทุนในธุรกิจของคุณไม่ควรสูงเกินไป อย่างกรณีของฟาสท์ฟู้ดในไทยนั้น ปิดตัวลงไปมาก เพราะสาเหตุที่ลงทุนสูงเกินไป จะต้องสร้างยอดขายต่อเดือนมาเท่าไหร่จึงจะคืนทุนได้  การลงทุนที่สูงเกินไปก็จะทำให้หาแฟรนไชซี่ยาก มีความเสี่ยงและทำให้โอกาสในการขยายตัวได้ยากขึ้นไปด้วย สำหรับตัวเลขการลงทุนที่ระบุว่าไม่เกิน 3 ล้านนั้น ได้มาจากการลงทุนของแฟรนไชส์ (Franchise) ส่วนใหญ่ในบ้านเราจะอยู่ในระดับนี้

16. ผลกำไรไม่ต่ำเกินไป (มากกว่าสองหมื่นบาทต่อเดือน)
คุณจะสังเกตุเห็นว่าแฟรนไชส์ (Franchise) ที่ลงทุนต่ำคือ คีออสรถเข็นต่างๆ จะบูมกันอยู่พักหนึ่ง แล้วก็ถดถอยเหมือนๆ กันหมด จนกระทั่งบางรายปิดตัวหายจากท้องตลาดไปเลย ทั้งที่บางรายบริษัทแม่เป็นยักษ์ใหญ่การที่แฟรนไชส์ (Franchise) ลงทุนต่ำ ที่มีคนตกงานเข้ามาซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) ไปทำกันเยอะแยะมากมาย ดูแล้วเหมือนบูมสุดๆ แต่แฟรนไชส์ (Franchise) ลงทุนต่ำเหล่านั้นย่อมทำกำไรต่ำไปด้วยเช่นกัน ผู้ที่ลงทุนซื้อแฟรนไชส์ (Franchise) รถเข็นเปิดอยู่ข้างถนน เมื่อทำไประยะหนึ่งก็รู้สึกว่าขาดความก้าวหน้าและไม่เห็นทางที่จะทำให้รวยขึ้นได้เพราะเงินที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายประจำเดือน

17. คุณเป็นเจ้าของสิทธิที่ถูกต้องหรือไม่?
เป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่ออีกเรื่องหนึ่งที่บริษัทยักษ์ใหญ่ที่ทำแฟรนไชส์ (Franchise) มานาน มีระบบการทำตลาดที่แข็งแกร่ง ยังต้องปรับปรุงรูปแบบร้านแฟรนไชส์ (Franchise) เข้าสู่วิธีการเดิมก็คือ ดีลเลอร์ เพราะมีข้อผิดพลาดที่ไม่ใช่เจ้าของสิทธิ์ในยี่ห้อสินค้าที่ขาย เช่น สินค้าไอทีและคอมพิวเตอร์ที่ขายบริษัทไม่ได้เป็นเจ้าของสินค้าเอง ช่วงแรกๆ ที่ทำนั้น บริษัทแม่ได้สิทธิในการขายสินค้ายี่ห้อดังเพียงรายเดียว แต่ต่อมาภายหลังทุกคนสามารถขายยี่ห้อเดียวกันได้อย่างไม่จำกัด ซึ่งร้านแผงลอย ร้านทั่วไปกลับมีสินค้าให้ลูกค้าเลือกได้อย่างหลากหลายมากมายหลายยี่ห้อและยังมีการต่อรองราคาได้อย่างสนุกสนาน ทำให้ร้านที่อยู่ในระบบแฟรนไชส์ (Franchise) ต้องการที่จะมีอิสระในการทำเช่นนั้นบ้าง เพื่อความอยู่รอดต่อการแข่งขันที่ร้อนแรง ในที่สุดร้านแฟรนไชส์ (Franchise) ดังของบริษัทยักษ์ใหญ่ต้องกลับมาใช้ระบบดีลเลอร์อย่างเก่า

18. คุณเป็นผู้บริหารที่มีความสามารถหรือไม่?
ถ้าคุณขายแฟรนไชส์ (Franchise) ออกไปนั้น คุณจะต้องมีทักษะในการบริหารงานในระบบใหญ่และมันจะยากยิ่งขึ้น เมื่อคุณต้องบริหารแฟรนไชซี่ที่ไม่ใช่ลูกจ้างของคุณ ที่มีลักษณะที่หลากหลายรูปแบบ ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่คุณจะต้องเป็นผู้บริหารที่มีความแข็งแกร่ง อย่างไรก็ตามหากคุณทราบว่าคุณอ่อนในเรื่องใด ขอแนะนำให้คุณหาที่ปรึกษาหรือจ้างคนที่เก่งในเรื่องนั้นๆ มาช่วยเสริมสร้างให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้นหรือมีทีมงานบริษัทที่เข้มแข็งยิ่งขึ้น อีกกรณีหนึ่งลักษณะนิสัยส่วนตัว คุณรู้ไหมว่าเหตุการณ์ที่ผ่านมานั้น มีแฟรนไชส์ (Franchise) หลายรายที่กำลังจะไปได้ดี แฟรนไชซี่สามารถดำเนินธุรกิจมีกำไรน่าพอใจ แต่ผู้บริหารมีนิสัยการใช้เงินที่ฟุ่มเฟือย จนกระทั่งหมดเงินจ่ายให้กับซัพพลายเออร์ในที่สุด ร้านของแฟรนไชซี่ก็ไม่ได้สินค้าเข้ามาขายในร้าน ทำให้แฟรนไชส์ (Franchise) เหล่านั้นล้มเหลวลงไปอย่างน่าเสียดายมาก

อ้างอิงจากโอกาสธุรกิจ & แฟรนไชส์

.........................................................................................................
โฆษณา-ลิงก์ผู้สนับสนุน

.........................................................................................................

18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ
18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ
18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ
18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ
18 คุณสมบัติของธุรกิจที่จะพัฒนาเป็นธุรกิจแฟรนไชส์ Franchise ที่ประสบความสำเร็จ

;

                     




บทความ-ความรู้พื้นฐานของธุรกิจแฟรนไชส์ <ดูทั้งหมด>

ข้อดี ข้อเสีย ของระบบธุรกิจแฟรนไชส์ คิดก่อนลงทุน? article
แฟรนไชส์เสริมความงาม สปา สุขภาพ ธุรกิจน่าลงทุน article
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร? ศัพท์แฟรนไชส์ที่ควรรู้ article
ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) article
มุมมองการตลาดของธุรกิจแฟรนไชส์ในปัจจุบัน article
วิธีการเลือกแฟรนไชส์ (Franchise) article
เกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพแฟรนไชส์ (Franchise) แห่งชาติ article
วิธีการสร้างและบริหารธุรกิจแฟรนไชส์ ให้ประสบความสำเร็จ 1 article
วิธีสร้าง-บริหารระบบแฟรนไชส์ให้ประสบความสำเร็จ2 article
ใครคือนักลงทุน.. แฟรนไชส์ (Franchise)! article
ระบบธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) ไม่ใช่สูตรแห่งความสำเร็จ? article
วิธีการเขียนสัญญาแฟรนไชส์ (Franchise) ทำอย่างไร? article
กลยุทธ์การเลือกซื้อธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) article
คุณควรมีหุ้นส่วนทางธุรกิจหรือไม่? article
แฟรนไชส์ (Franchise) ธุรกิจสำเร็จรูปหรือสูตรสำเร็จ? article



Copyright © www.YesSpaThailand.com 2010 All Rights Reserved.

พื้นที่โฆษณา -ลิงก์ผู้สนับสนุน (Advertisement)

มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน